Update 7 มิถุนายน 2555
นับถึงวันนี้ Browser จัดการเรียบร้อยแล้วแสดงผลตาม Visit number การแสดงผลจัดแสดงตามวันที่มารับบริการเชื่อมที่ visit number ทำให้ดูคล้าย EMR แต่เป็นเอกสารที่ถูกสแกนมาในรูปแบบของ Jpeg file ในส่วนของการจัดการที่ตามมาคือ เก็บ Log file ของการเข้าชมตามรหัสผู้ใช้งาน HosxP ยังไม่ได้กำหนดสิทธิการเข้าดู
...............................
วันพุธที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
ผู้ประกันตนมาตรา 40 โวยวาย
ไม่นานนักก็ได้ยินเสียงโทรศัพท์มาอีก ""มันไม่ใช้พี่...เป็นประกันสังคมส่งเงินสมทบ 1,200 บาทต่อปีมันมีด้วยหรือพี่" อ้าวสงสัยเป็นมาตราใหม่ ขอคุยกับคนไข้ก่อนว่าเป็นยังไง
วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
OPD card ขนาด A4....ที่นี่เรียกบัตรตรวจโรค
โชคดีที่ทีม Admin มีการเตรียมการมาบ้างเกือบปีที่มีการรื้อระบบ ทดลองใช้งาน หาคำตอบให้ข้อสงสัยต่างๆ การสร้างและนำเข้าฐานข้อมูล อื่นๆจะปาถะ เกือบเป็นบ้าทั้ง 3 คน
ล้มลุก คลุกคลานมาจะครบ 3 ปีแล้วระบบเริ่มนิ่งแล้ว รวมถึงคนในระบบด้วย 555....ขอยืมคำกล่าวของ Admin รพร.ด่านซ้ายมานิดหนึ่ง " องค์กรทุกองค์กร ต้องมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องปกติครับ แต่เรื่องที่ไม่ปกติ คือ เราจะนั่งดูองค์กรเปลี่ยนแปลง หรือจะร่วมเป็นคนส่วนหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงองค์กร.." น่าสนใจดีครับ
สัปดาห์แรกของบัตรคิว Version 6
สัปดาห์แรกหลังจากเริ่มใช้บัตรคิวแบบใหม่ จากเดิมเป็บแบบกระดาษแบ่งครึ่งมาเป็นแบบเต็มแผ่น (กระดาษ 5x5 นิ้วแบบต่อเนื่อง)
ห้องเก็บบัตรล้น...
Update 3 มิถุนายน 2555
นับถึงวันนี้ 20 วันยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานของห้องทำงาน..รอจนกระทั่งห้องฟันเริ่มก่อสร้าง ในส่วนของระบบบริการเวชระเบียนได้เริ่มทำเวชระเบียนออนไลน์แล้วปริมาณงานมากกว่า 70% ในส่วนของการปรับแบบฟอร์มยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ โดยหลักประกอบด้วย
1. แบบรายงานฉีดยาและทำแผลต่อเนื่อง
2. OPD Card ที่ไม่จำเป็นต้องพิมพ์ออกมาใช้การบันทึกในแบบบริการของแผนกเช่น ทันตกรรม กายภาพบำบัด PCU รวมถึงแพทย์แผนไทย
3. การออกแบบแบบฟอร์มสำหรับงานบริการต่างๆ
นับถึงวันนี้ 20 วันยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานของห้องทำงาน..รอจนกระทั่งห้องฟันเริ่มก่อสร้าง ในส่วนของระบบบริการเวชระเบียนได้เริ่มทำเวชระเบียนออนไลน์แล้วปริมาณงานมากกว่า 70% ในส่วนของการปรับแบบฟอร์มยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ โดยหลักประกอบด้วย
1. แบบรายงานฉีดยาและทำแผลต่อเนื่อง
2. OPD Card ที่ไม่จำเป็นต้องพิมพ์ออกมาใช้การบันทึกในแบบบริการของแผนกเช่น ทันตกรรม กายภาพบำบัด PCU รวมถึงแพทย์แผนไทย
3. การออกแบบแบบฟอร์มสำหรับงานบริการต่างๆ
วันพฤหัสบดีที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
เวชระเบียน เป็นของใคร ?
วิสูตร ฟองศิริไพบูลย์, พ.บ.
ภาควิชานิติเวชศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐
เจ็บป่วยฉุกเฉิน 3 กองทุน
การบูรณาการร่วมกันของ 3 กองทุน คือ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนประกันสังคม และกองทุนสวัสดิการข้าราชการ เพื่อให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉินสำหรับประชาชนทุกสิทธิ ไม่ต้องมีการถามสิทธิ สามารถเข้ารับการรักษาได้ทุกที่ เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย.นี้ จากนั้นให้หน่วยบริการ หรือโรงพยาบาลทำเรื่องเบิกจ่ายไปยังสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งทำหน้าที่เป็นหน่วยงานเบิกจ่ายกลาง หรือ เคลียริ่งเฮาส์” (Clearing House) ก่อนที่ สปสช.จะเรียกเก็บเงินจากแต่ละกองทุนต่อไป
เปรียบเทียบ DRG
ล่าสุดเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2555 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.)ได้ออกประกาศแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลต่างๆที่ทำสัญญากับทุกกองทุนทั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนประกันสังคมและข้าราชการ(กรมบัญชีกลาง)ให้ใช้ DRG version 5 ซึ่งประกาศดังกล่าวไม่ได้มีการหารือกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียแต่อย่างใด จึงทำให้โรงพยาบาลต่างๆมีการหารือกันเพื่อเสนอให้คณะกรรมการสปสช.ระงับการใช้ DRG version5 เพราะเกรงว่านโยบายนี้จะทำให้โรงพยาบาลรัฐมีปัญหาการขาดทุนมากยิ่งขึ้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)